วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การอ่านวรรณกรรม

"การอ่านออกเขียนได้เป็นสิ่งที่จำเป็นพื้นฐาน
แต่เราต้องพาผู้เรียนไปให้สูงกว่านั้น"

_การอธิบายความหมายใต้บรรทัด การตีความในสิ่งที่อ่านเพื่อเข้าใจในสิ่งที่เรื่องกำลังสื่อสาร
_ความซาบซึ้ง เข้าถึงแก่นและเชื่อมโยงสู่การปรับประยุกต์ใช้

ทุกครั้งที่อ่านวรรณกรรม ครูต้องตั้งคำถามที่จะเชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง (จำ_เข้าใจ_นำไปใช้_วิเคราะห์_สังเคราะห์_ประเมินค่า_สร้างสรรค์) เพื่อฝึกการคิดและการใคร่ครวญ น้อมสู่การเกิดความเข้าใจ

ภาษาไทยผ่านวรรณกรรม ณ โรงเรียนนอกกะลา (ที่นี่ไม่มีแบบเรียน)

ภาพ : พี่ๆ ป.2 อ่านวรรณกรรม"นิทานลูกสัตว์" เรื่อง ลูกแมวและลูกกระรอก และพี่ๆ ป.3 กำลังอ่านวรรณกรรม "นิทานนานาชาติ" เรื่อง คนเบื่อตนเอง







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น